What are Plasma Bubbles and Why Do They Matter to Us?

What are Plasma Bubbles and Why Do They Matter to Us?

Equatorial Plasma Bubbles or EPB, naturally occur in space weather as ionospheric disruptions that disrupt satellite-based communication and GPS navigation systems.
They are commonly found to occur after sunset along the earth’s equatorial line.
These plasma bubbles have been known to create major problems for all industries that rely heavily on GPS including Space, Air, Communications, Logistics, Defense and many more.

The disruption caused to space weather creates breaks in signals for all those using GPS and other radio frequencies to operate, which could cause serious accidents or communication breakdowns throughout affected areas.

Since KMITL and KRIS are Thailand’s leading institutions on Space Economy, we are committed to researching effective and sustainable solutions for this phenomena and SDG 9- Industry,
Innovation and Infrastructure initiatives. Our efforts can bring us one step closer to better understanding and better output for industries that rely heavily on GPS to improve safety for all.

Stay tuned with KRIS to see all of the great advancements we’re making to address the Plasma Bubble phenomenon in real time.

#KRIS #SDG9 #EquatorialPlasmaBubbles #EPB #KMITLSpaceHubChumporn #SpaceEconomy #SDG9


Plasma Bubbles คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร

Equatorial Plasma Bubbles หรือ EPB เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในชั้นบรรยากาศ Ionosphere โดยก๊าซในบรรยากาศชั้นนี้มีสถานะเป็นประจุไฟฟ้า มีคุณสมบัติในการสะท้อนคลื่นสำหรับการสื่อสารโทรคมนาคม ปรากฎการณ์นี้ทำให้ปริมาณอิเล็กตรอนลดลงอย่างเฉียบพลัน มีผลให้การส่งสัญญาณสื่อสารผิดเพี้ยนไปจากเดิม มักเกิดขึ้นหลังพระอาทิตย์ตกดินตามแนวเส้นศูนย์สูตรของโลก

ปรากฏการณ์ Plasma Bubble นี้ มีผลกระทบต่อระบบการสื่อสารดาวเทียมและการระบุตำแหน่งนำทาง (GPS)
ทำให้เกิดการระบุตำแหน่งผิดพลาดสำหรับการใช้งาน GPS และความถี่วิทยุอื่น ๆ ซึ่งจะสร้างปัญหาให้กับ อุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยี GPS เป็นอย่างมาก
ทั้งด้านอวกาศ การเดินอากาศ การนำร่องอากาศยาน การสื่อสาร โลจิสติกส์ ระบบการป้องกันภัย และอีกมากมาย
ซึ่งความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจะนำไปสู่ความผิดพลาดของระบบสื่อสาร อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุจนมีความเสียหายอย่างมหาศาล

KMITL และ KRIS เป็นสถาบันชั้นนำที่ศึกษาค้นคว้าด้านเศรษฐกิจอวกาศของประเทศไทย จึงมุ่งมั่นค้นคว้าวิธีแก้ปัญหาของปรากฏการณ์นี้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน  ตามเป้าหมาย SDG 9
ในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ครอบคลุม ยั่งยืนและส่งเสริมนวัตกรรม
ความพยายามในการศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์นี้จะเกิดประโยชน์มหาศาลกับอุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาการระบุตำแหน่งนำทาง (GPS) รวมถึงความปลอดภัยของทุกคน

ติดตามข้อมูลของ KRIS เกาะติดก้าวหน้าของเทคโนโลยีกับปรากฏการณ์ Plasma Bubble นี้ไปด้วยกัน